เปลี่ยนภาษา:  English

เรียนที่ SCI-TU

สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน

ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ในการวิเคราะห์ ประเมิน ประยุกต์ใช้ จัดการและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรและภูมิปัญญาประชากร โดยค านึงถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDG)

คำอธิบายหลักสูตร

ทิศทางของการพัฒนาสังคมโลกตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนในทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม นับเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่โลกมีการแข่งขันทางความรู้และเทคโนโลยีสูงขึ้นรวมถึงสถานการณ์ COVID 19 ที่ส่งผลกระทบทั่วโลกยิ่งเป็นการตอกย้ำความสำคัญของแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาและจัดการเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม สามารถบูรณาการองค์ความรู้ที่นำไปสู่การสร้างสรรค์ นวัตกรรมและประยุกต์เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของสังคมไทย บนฐานของภูมิสังคม ภูมิปัญญา และสร้างความสมดุลในการพัฒนาที่นำไปสู่ความมั่นคงและความยั่งยืนของประเทศ
เพื่อให้เกิดการวิจัย การพัฒนา การประยุกต์ใช้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนและพื้นที่ รวมทั้งการตอบรับต่อเป้าหมายการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศที่ให้ความสำคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(SDGs) โดยมุ่งเน้นในประเด็นในข้อที่ 2) ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger) ข้อที่ 6) รับรองการมีน้ าใช้ การจัดการน้ำและสุขาภิบาลที่ยั่งยืน(Clean Water and Sanitation) ข้อที่ 7) รับรองการมีพลังงาน ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้ยั่งยืน ทันสมัย(Affordable and Clean Energy) และข้อที่ 11) ท าให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัยทั่วถึง พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Cities and Communities) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้จัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน ขึ้น

หลักสูตรนี่มีความหลากหลายให้ได้ศึกษา มีผู้เชียวชาญเฉพาะด้านเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ผู้เรียนสามารถหยิบเอาองค์ความรู้เหล่านั้นมาประยุกต์ ใช้ในหลากหลายสถานะการณ์ได้อย่างลงตัว ส่งผลให้ลักษณะผลงานที่ได้ออกมานั้นมีความโดดเด่น แตกต่างออกไป ลักษณะการเรียนการสอนยังเน้นไปที่การได้ลงมือหรือลงพื้นที่ภาคสนามช่วยให้เห็นภาพการทำงานในสถานที่จริงและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการทำงานได้ดียิ่งขึ้น”

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

  •  นักพัฒนาชุมชน
  •  นักวิจัย
  •  นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
  •  นักธุรกิจ/ผู้จัดการโครงการ
  •  อาจารย์/นักวิชาการสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
  • อาชีพอิสระ

ภาษาไทย จัดการเรียนการสอนนอกวัน – เวลาราชการ

เรียนวันเสาร์ – อาทิตย์ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น.
ระยะเวลา: 2 ปี
จำนวนรับเข้า: 10 คน

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

  • ต้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 22-23 ดังนี้

    • ข้อ 22 นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้
      1) ส่าเร็จการศึกษาขั้นต่่าตามที่ก่าหนดไว้ในข้อก่าหนดหลักสูตร
      2) ไม่เป็นผู้ป่วยหรืออยู่ในสภาวะที่จะเป็นอุปสรรคร้ายแรงต่อการศึกษา
      3) ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดศีลธรรมอันดีหรือมีพฤติกรรมเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง
      4) ต้องไม่เคยถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพราะมีความผิดทางวินัย ภายในระยะเวลา

    10 ปี ก่อนการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา

    นอกจากคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง ผู้ซึ่งจะเข้าศึกษาในหลักสูตรการศึกษาใด ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตามข้อก่าหนดหลักสูตรที่เข้าศึกษาและตามประกาศมหาวิทยาลัยว่าด้วยการรับเข้าศึกษาด้วย

    • ข้อ 23 การก่าหนดคุณสมบัติตาม ข้อ 22 (1) ในข้อก่าหนดหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสป.อว. และมีคุณสมบัติ ดังนี้

    แผน ก แบบ ก 1 เน้นการค้นคว้าวิจัย
    1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สภา มหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ และเป็นผู้ที่ได้คะแนนเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ ากว่า 3.00
    2) หากมีคะแนนเฉลี่ยไม่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อ 1 ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 3 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา

    แผน ก แบบ ก 2 เน้นศึกษารายวิชาและการทำวิทยานิพนธ์
    1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ หรือ
    2) เป็นผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น และมีประสบการณ์การทำงานเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างน้อย 1 ปี โดยมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา

จำนวนหน่วยกิต:

  • จำนวนหน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า    36 หน่วยกิต
    • แผน ก แบบ ก 1 (ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์)
      1. ศึกษารายวิชา(ไม่นับหน่วยกิต)                    6          หน่วยกิต
      2. วิทยานิพนธ์                                                 36         หน่วยกิตแผน ก แบบ ก 2 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
      1) หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต)    3          หน่วยกิต
      2) หมวดวิชาบังคับ                                           9          หน่วยกิต

      3) หมวดวิชาบังคับเลือก                                   3          หน่วยกิต
      4) หมวดวิชาเลือก                                            12         หน่วยกิต
      5) วิทยานิพนธ์                                                  12         หน่วยกิต

    ค่าเล่าเรียน:

    • ภาคการศึกษาละ 21,800 บาท /เทอม

    สถานที่ศึกษา:

    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

    ติดต่อหลักสูตร:

    ภาษาไทย จัดการเรียนการสอนนอกวัน – เวลาราชการ

    เรียนวันเสาร์ – อาทิตย์ เวลา 9.00 น. ถึง 16.00 น.
    ระยะเวลา: 2 ปี
    จำนวนรับเข้า: 10 คน

    คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา:

    ต้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 22-23 ดังนี้

    • ข้อ 22 นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้
      1) ส่าเร็จการศึกษาขั้นต่่าตามที่ก่าหนดไว้ในข้อก่าหนดหลักสูตร
       2) ไม่เป็นผู้ป่วยหรืออยู่ในสภาวะที่จะเป็นอุปสรรคร้ายแรงต่อการศึกษา
       3) ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดศีลธรรมอันดีหรือมีพฤติกรรมเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง
       4) ต้องไม่เคยถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพราะมีความผิดทางวินัย ภายในระยะเวลา    

    10 ปี ก่อนการสมัครเข้าเป็นนักศึกษา

    นอกจากคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง ผู้ซึ่งจะเข้าศึกษาในหลักสูตรการศึกษาใด ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตามข้อก่าหนดหลักสูตรที่เข้าศึกษาและตามประกาศมหาวิทยาลัยว่าด้วยการรับเข้าศึกษาด้วย

    • ข้อ 23 การก่าหนดคุณสมบัติตาม ข้อ 22 (1) ในข้อก่าหนดหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของสป.อว. และมีคุณสมบัติ ดังนี้

    แผน ก แบบ ก 1 เน้นการค้นคว้าวิจัย
    1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สภา มหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ และเป็นผู้ที่ได้คะแนนเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่ต่ ากว่า 3.00
    2) หากมีคะแนนเฉลี่ยไม่เป็นไปตามเกณฑ์ข้อ 1 ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 3 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา

    แผน ก แบบ ก 2 เน้นศึกษารายวิชาและการทำวิทยานิพนธ์
    1) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรองวิทยฐานะ หรือ
    2) เป็นผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น และมีประสบการณ์การทำงานเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างน้อย 1 ปี โดยมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา

    จำนวนหน่วยกิต:

    • จำนวนหน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า    36 หน่วยกิต
      • แผน ก แบบ ก 1 (ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์)
                    1. ศึกษารายวิชา(ไม่นับหน่วยกิต)                    6          หน่วยกิต
                    2. วิทยานิพนธ์                                                 36         หน่วยกิต

        แผน ก แบบ ก 2 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์)
                    1) หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต)    3          หน่วยกิต
                    2) หมวดวิชาบังคับ                                           9          หน่วยกิต

        3) หมวดวิชาบังคับเลือก                                              3          หน่วยกิต
                    4) หมวดวิชาเลือก                                            12         หน่วยกิต
                    5) วิทยานิพนธ์                                                  12         หน่วยกิต

      ค่าเล่าเรียน:

      • ภาคการศึกษาละ 21,800 บาท /เทอม

      สถานที่ศึกษา:

      สาขาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

      ติดต่อหลักสูตร:

      ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ในการวิเคราะห์ ประเมิน ประยุกต์ใช้ จัดการและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรและภูมิปัญญาประชากร โดยค านึงถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDG)

      คำอธิบายหลักสูตร

      ทิศทางของการพัฒนาสังคมโลกตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนในทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม นับเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่โลกมีการแข่งขันทางความรู้และเทคโนโลยีสูงขึ้นรวมถึงสถานการณ์ COVID 19 ที่ส่งผลกระทบทั่วโลกยิ่งเป็นการตอกย้ำความสำคัญของแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาและจัดการเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม สามารถบูรณาการองค์ความรู้ที่นำไปสู่การสร้างสรรค์ นวัตกรรมและประยุกต์เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของสังคมไทย บนฐานของภูมิสังคม ภูมิปัญญา และสร้างความสมดุลในการพัฒนาที่นำไปสู่ความมั่นคงและความยั่งยืนของประเทศ
      เพื่อให้เกิดการวิจัย การพัฒนา การประยุกต์ใช้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนและพื้นที่ รวมทั้งการตอบรับต่อเป้าหมายการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศที่ให้ความสำคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(SDGs) โดยมุ่งเน้นในประเด็นในข้อที่ 2) ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger) ข้อที่ 6) รับรองการมีน้ าใช้ การจัดการน้ำและสุขาภิบาลที่ยั่งยืน(Clean Water and Sanitation) ข้อที่ 7) รับรองการมีพลังงาน ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้ยั่งยืน ทันสมัย(Affordable and Clean Energy) และข้อที่ 11) ท าให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัยทั่วถึง พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Cities and Communities) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้จัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน ขึ้น

      กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

      •  นักพัฒนาชุมชน
      •  นักวิจัย
      •  นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
      •  นักธุรกิจ/ผู้จัดการโครงการ
      •  อาจารย์/นักวิชาการสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
      • อาชีพอิสระ
      “หลักสูตรนี่มีความหลากหลายให้ได้ศึกษา มีผู้เชียวชาญเฉพาะด้านเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ผู้เรียนสามารถหยิบเอาองค์ความรู้เหล่านั้นมาประยุกต์ ใช้ในหลากหลายสถานะการณ์ได้อย่างลงตัว ส่งผลให้ลักษณะผลงานที่ได้ออกมานั้นมีความโดดเด่น แตกต่างออกไป ลักษณะการเรียนการสอนยังเน้นไปที่การได้ลงมือหรือลงพื้นที่ภาคสนามช่วยให้เห็นภาพการทำงานในสถานที่จริงและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการทำงานได้ดียิ่งขึ้น”