ผลงานและกิจกรรม

โครงงานปัญหาพิเศษ

ปีการศึกษา 2563

การศึกษาเปรียบเทียบผลของปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมีในการผลิตผักบุ้งจีน
นายศุภชัย ช้างเผือก และ นางสาวกุลรัตน์ กีรติวิบูลย์

การศึกษาระบบ Internet of Thing (IoT) สำหรับควบคุมการให้น้ำ และวัดค่าความชื้นของดินเพื่อพัฒนาอุปกรณ์วัดค่าความชื้นดิน
นางสาวปรัชญวรรณ ศิริจันทรา และ นางสาวกนกวรรณ ทรัพย์อยู่

การตรวจจับหลุมลึกบนผิวถนนผ่านการขับเคลื่อนของรถยนต์ด้วย accelerometer
นายพุฒิพงศ์ ปริปุณณากร และ นางสาวกุลธิดา ปานพรม

แอพพลิเคชั่นเพื่อใช้ในการสำรวจอาคารที่ชำรุดหลังน้ำท่วมเพื่อวิศวกรอาสา
นางสาวธนภัทร์ ประจักษ์สูตร์ และ นางสาวสุวรา มาสังข์

การประยุกต์แบบจำลอง HEC-RAS เพื่อศึกษาศักยภาพพื้นที่ชะลอน้ำ และพื้นที่นันทนาการ กรณีศึกษา โครงการแก้มลิงสระบัว (อ่างเก็บน้ำทุ่งกระจูด) จังหวัดสุราษฎร์ธานี
นายณธัณฎ์ธร รัตนพิทักษ์ และ นางสาวธนาภรณ์ เสริมศิริ

แนวทางการออกแบบอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาอาคารศูนย์เรียนรู้และศึกษาธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน้ำบางปู จ.สมุทรปราการ
นางสาวประกายดาว นนทะศรี และ นางสาวธณัณณัฐ ทำมะสอน

ศึกษาศักยภาพในการนำลูกสำโรงมาทำเชื้อเพลิง
นางสาวภัทราวดี โชติจำลอง และ นางสาวปวีณสุดา ยงเพชร

การเปรียบเทียบการให้ความร้อนระหว่างอลูมิเนียมกับสังกะสี
และการติดแผ่นสะท้อนแสงมีผลต่อการให้ความร้อนในเตาอบพลังงานแสงอาทิตย์
นางสาวแววตา แนวเสือ และ นางสาวปรียาภรณ์ ปฏิพิมพาคม

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ระดับองค์กร กรณีศึกษา : อาคารบรรยายรวม 3, 4, 5 และโรงอาหารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
นางสาวณัฐกานต์ เหลืองเจิรญ และ นางสาวณัฐณิชา สังข์ทอง

การศึกษาสภาพลักษณะภูมิประเทศสำหรับการจัดการเชิงพื้นที่
และเสนอแนวทางการแก้ปัญหาจากอุทกภัยซ้ำซากจังหวัดสุโขทัย
นางสาวเจนจิรา บัวหอม และ นางสาวจิดาภา สิงสันจิตร

การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะฝุ่นภายในอาคาร กรณีศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
นางสาวสุธิดา พึ่งไป และ นางสาวปลายฝน อินปาต๊ะ

การประยุกต์ใช้เซนเซอร์เพื่อตรวจวัดระดับอนุภาคฝุ่นละออง
และสภาวะน่าสบายในอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
นางสาวณัฐณิชา พันธุ์สิงห์